1. ข้อมูลทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบล


1.1 ที่ตั้ง

1. จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540

2. ที่ตั้งเลขที่ หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านติ้ว อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

3. อาณาเขต

ทิศเหนือ มีเขตติดต่อกับ ตำบลห้วยไร่
ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับ ตำบลปากช่อง
ทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับ เทือกเขาเพชรบูรณ์
ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับ ตำบลบ้านหวายและตำบลบ้านโสก

4. เนื้อที่

ตำบลบ้านติ้ว มีพื้นที่ทั้งหมด 78,663 ไร่ หรือประมาณ 125.40 ตารางกิโลเมตร

5. ภูมิประเทศ

ภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ
- ที่ราบลุ่ม
- ที่ราบเชิงเขา
- ที่ภูเขา
ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนและบางพื้นที่เป็นดินจืด เนื่องมาจากในฤดูฝน มีน้ำไหลหลากและ
ได้ชะล้างหน้าดินออกไปทำให้หน้าดินเสื่อมคุณภาพ ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ใช้ทำการเกษตร

6. การปกครอง แบ่งเป็น 12 หมู่บ้าน

แบบประเภทหมู่บ้าน
- หมู่บ้าน อพป. - แห่ง
- หมู่บ้าน ปชด. - แห่ง
- หมู่บ้านปลอดยาเสพติด 12 แห่ง
- หมู่บ้านแผ่นดินทอง - แห่ง

7. ประชากร

- จำนวนราษฎรทั้งสิ้น 8,552 คน ชาย 4,224 คน หญิง 4,328 คน
- จำนวนครัวเรือน 2,256 ครัวเรือน

หมู่ที่

ชาย (คน)

หญิง (คน)

รวม (คน)

จำนวนครัวเรือน

1

225

229

454

107

2

493

535

1,028

262

3

490

582

1,072

284

4

384

389

773

232

5

471

474

945

241

6

493

484

977

232

7

290

283

573

141

8

204

225

429

119

9

284

266

550

170

10

255

258

513

144

11

331

301

632

145

12

304

302

606

179

รวม

4,224

4,328

8,552

2,256

 

 

  2. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

2.1 อาชีพของราษฎร

ที่

อาชีพ

จำนวน(ครัวเรือน)

ร้อยละ

1.

เกษตรกร

1,476

65.42

2.

ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ

598

26.51

3.

พนักงานหน่วยงานเอกชน

23

1.02

4.

ธุรกิจส่วนตัว

48

2.12

5.

รับจ้างทั่วไป

96

4.26

6.

อื่นๆ

15

0.67

 

รวม

2,256

100 %

2.2 โครงสร้างรายได้ของครัวเรือน

ที่

อาชีพ

จำนวน(ครัวเรือน)

ร้อยละ

1.

ต่ำกว่า 20,000 บาท

203

9

2.

20,000 บาทขึ้นไป

2,053

91

 

รวม

2,256

100 %

2.3 ผลิตผลหรือสินค้า/บริการ ที่สำคัญของตำบล ได้แก่

- ใบยาสูบ
- ผ้าทอผ้ามุก
- ข้าวเรียงเม็ด (ข้าวแตน)

2.4 กลุ่มประชาชนด้านเศรษฐกิจ

1) การรวมกลุ่มเพื่อการอาชีพ จำนวน 12 กลุ่ม สมาชิกรวม - คน
2) การรวมเพื่อการออมทรัพย์ จำนวน 12 กลุ่ม สมาชิกรวม - คน มียอดเงินออมรวม - คน
3) อื่นๆ จำนวน 4 กลุ่ม สมาชิกรวม - คน



  3. ข้อมูลด้านสังคม


  3.1
ภาระการทำงาน

ที่

ภาระการว่างงาน

จำนวน(คน)

ร้อยละ

ได้รับการช่วยเหลือ(คน)

1.

ผู้ว่างงาน

236

2.76

-

2.

ผู้ว่างงานตามฤดูกาล

530

6.19

-

 

รวม

766

8.95

-

3.2 การศึกษาของราษฎร

ที่

ภาระการว่างงาน

จำนวน(คน)

ร้อยละ

หมายเหตุ

1.

ประถมศึกษา(ป.1-6)

1,966

22.99

ไม่รวมผู้กำลังศึกษา

2.

มัธยมศึกษาตอนต้น(ม.1-3)

1,613

18.86

 

3.

มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า(ปวช. ปกศ.)

919

10.75

 

4.

อนุปริญญาหรือเทียมเท่า(ปวส. ปกศ.สูง ปวท.)

430

5.03

 

5.

ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี

186

2.18

 

 

รวม

5,114

59.80

 

o เด็กก่อนวันเรียน (1 – 6 ปี) ได้รับการศึกษาจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียนอนุบาล 99 คน ร้อยละ 1.25
o เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับได้ศึกษาต่อ 354 คน ร้อยละ 4.46
o เด็กจบการศึกษาระดับมัธยมได้ศึกษาต่อ 220 คน ร้อยละ 2.77

ที่

สถานบริการด้านการศึกษา

จำนวน

แห่ง

ครู(คน)

นักเรียน(คน)

1.

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

1

4

96

2.

โรงเรียนระดับอนุบาล

-

-

-

3.

โรงเรียนระดับประถมศึกษา

5

53

592

4.

โรงเรียนระดับมัธยมตอนต้น

1

37

716

5.

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

6.

ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน

1

1

80

7.

ห้องสมุดประชาชน

-

-

-

8.

ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน

12

-

-

3.3 ด้านสุขภาพ

ประเภทสถานพยาบาล

จำนวน(แห่ง)

จำนวนบุคลากร

คนไข้เฉลี่ย/เดือน

โรงพยาบาล

2

9 คน

3,000 คน

สถานีอนามัย

-

-

-

คลินิก

-

-

-

ร้านขายยาแผนโบราณ

-

-

-

กองทุนยาและเวชภัณฑ์

-

-

-

1. โรคระบาดที่สำคัญ/โรคที่มีผู้ป่วยมากที่สุด

ที่

โรคระบาดที่สำคัญ

ผู้ที่เป็นโรค(คน)

ร้อยละ

1.

โรคระบบหายใจ

1,321

15.45

2.

สาเหตุจากภายนอกอื่นๆ ที่ทำให้ป่วยหรือตาย

1,065

12.45

3.

โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อโภชนาการ และเมตะบอริสัม

1,052

12.30

4.

โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่อปาก

998

11.67

5.

โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงร่างและเนื้อยืดเสริม

905

10.58

 

รวม

5,341

62.45

แหล่งข้อมูล : โรงพยาบาลตำบลบ้านติ้ว ณ.วันที่ 19 ตุลาคม 2548

2. สถานการณ์โรคเอดส์

o จำนวนผู้ติดเชื้อ HIV เอดส์ จำนวน 7 คน
o จำนวนผู้ป่วยโรคเอดส์ จำนวน 7 คน
o สถานบำบัด และรักษาผู้ป่วยเอดส์ จำนวน - คน

3.4 สถานการณ์ยาเสพติด

ที่

ประเภทยาเสพติด

จำนวนผู้ติดยาเสพติด

จำนวน(คน)

ชาย

หญิง

1.

บุหรี่

1,577

1,549

28

2.

กระท่อม

-

-

-

3.

กัญชา

-

-

-

4.

ยาบ้า

-

-

-

5.

เฮโรอีน

-

-

-

6.

อื่นๆ

-

-

-

 

รวม

1,577

1,549

28

 

3.5 ผู้ด้อยโอกาส

ที่

ประเภท

จำนวน(คน)

ได้รับการช่วยเหลือ(คน)

ร้อยละ

1.

เด็กกำพร้า/ถูกทอดทิ้ง/เร่ร่อน

4

-

0.05

2.

เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์

3

-

0.04

3.

ผู้สูงอายุ(60 ปีขึ้นไป) ถูกทอดทิ้ง

197

176

2.31

4.

ผู้พิการ(ช่วยตัวเองไม่ได้)

4

4

0.05

5.

ผู้พิการ(ช่วยตัวเองได้)

35

-

0.41

6.

ปัญญาอ่อน

11

-

0.13

 

รวม

254

180

2.98

( เด็ก หมายถึง ผู้มีอายุต่ำกว่า 15 ปี )

3.6 ด้านความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน

คดีที่สำคัญที่เกิดขึ้นในตำบล

ที่

ข้อกล่าวหา

จำนวนผู้กระทำความผิด

1.

ขับรถโดยประมาท

1 คน

2.

ขับขี่รถยนต์ขณะเมาสุรา

1 คน

3.

มียาเสพติดให้โทษประเภท 1 (ยาบ้า) ไว้ในครอบครอง

1 คน

 

โดยไม่ได้รับอนุญาต

 

4.

ร่วมกันมีอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้ในครอบครอง

2 คน

 

โดยไม่ได้รับอนุญาต

 

3.7 ด้านมวลชนและการรวมกลุ่มของประชาชน

1) ประชาคมหมู่บ้าน
2) ประชาคมตำบล
3) ทสบช.
4) ชมรมตำรวจบ้าน
5) ชมรมฉันสบายดี
6) ชมรมแอร์โรบิค
7) ชมรมวิทยุชมชนตำบลบ้านติ้ว

 

 

4. ข้อมูลด้านโครงสร้างพื้นฐาน

4.1  ด้านคมนาคม

ที่

ประเภทถนน
ระยะทางรวม(กม.) สภาพการใช้ประโยชน์

ใช้การได้ดี(กม.)

ชำรุด(กม.)

1.

ถนน คสล.

24

16

8

2.

ถนนลาดยาง

4

4

-

3.

ถนนลูกรัง

12

8

4

4.

อื่นๆ

-

-

-

4.2 ด้านแหล่งน้ำ

ที่

ประเภทแหล่งน้ำ

จำนวน(แห่ง)

ประโยชน์ที่ได้รับ

พื้นที่(ไร่)

ครัวเรือน

1.

บ่อน้ำตื้น/สระน้ำ

35

25,147

1,476

2.

บ่อบาดาล

-

-

-

3.

ฝาย/ทำนบ/พนังกั้นน้ำ

5

25,147

1,476

4.

ประปาหมู่บ้าน/ภูเขาอื่นๆ

2

42,291

537

5.

แหล่งน้ำธรรมชาติห้วย/หนอง/คลอง

8

25,147

1,476

 

/บึง ฯลฯ

 

 

 

6.

อื่นๆ

-

-

-

 

รวม

50

117,732

4,965

4.3 จำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ 2,256 ครัวเรือน ร้อยละ 100

4.4 การสื่อสาร

1) ครัวเรือนที่มีโทรทัศน์หรือวิทยุใช้ 2,126 ครัวเรือน ร้อยละ 94.24
2) ครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์ 850 ครัวเรือน ร้อยละ 33.26
3) ครัวเรือนที่มีโทรศัพท์บ้านหรือเคลื่อนที่ 2,050 ครัวเรือน ร้อยละ 90.87
4) หอกระจายข่าว/เสียงตามสาย 12 แห่ง
5) สถานีวิทยุชุมชน 1 แห่ง

     

 

5. ข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

5.1 พื้นที่ป่าไม้ 42,004 ไร่ * ถูกบุกรุก/ทำลาย 12,302 ไร่

5.2 พื้นที่สาธารณะ 1,316 ไร่ * ถูกบุกรุก/ทำลาย - ไร่

* นำไปใช้ประโยชน์ 1,316 ไร่

•  สภาพน้ำเสีย -

•  สาเหตุสำคัญของน้ำเสีย -

•  วิธีแก้ไขปัญหา -

•  ข้อมูลด้านขยะ

1) ปริมาณขยะต่อวัน 4 ลบ.ม.
2) วิธีกำจัดขยะ ฝังกลบ
3) ปริมาณขยะที่กำจัดได้ต่อวัน 4 ลบ.ม.
4) ค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ 191,720 บาท/ปี
5) รายได้จากการเก็บขยะ 50,000 บาท/ปี

 



  6. ข้อมูลปัญหาที่สำคัญ

 

ที่
ปัญหาที่สำคัญ
ลักษณะ/สาเหตุของปัญหา
จำนวนราษฎรได้รับผลกระทบ

1.

ปัญหาเสพติด

ประชาชนภายในตำบล โดยเฉพาะ

5 ครัวเรือน

 

 

กลุ่มวัยรุ่นว่างงานมีแนวโน้มติด

 

 

 

ยาเสพติดมากขึ้น

 

2.

ปัญหาความยากจน

คนว่างงานและภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

22 ครัวเรือน

 

 

ทำให้ค่าครองชีพสูง

 

3.

ปัญหาผลผลิตราคาตกต่ำ

พืชผลทางการเกษตรมีปริมาณมาก

1,017 ครัวเรือน

 

 

เกินความต้องการของตลาด

 




7. แนวทางพัฒนา และผลการพัฒนาที่ผ่านมา

  7.1 วิสัยทัศน์ หรือยุทธศาสตร์ในการพัฒนา

1.  การดำเนินงานด้านเศรษฐกิจ

•  จัดตั้งร้านค้าชุมชนและปั๊มน้ำมันชุมชน ไว้ให้บริการประชาชนทั่วไป
•  จัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน
•  จัดตั้งธนาคารหมู่บ้าน
•  ฝึกอบรมอาชีพให้แก่ราษฎรในตำบล
•  สนับสนุนเงินทุนกลุ่มอาชีพใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ

2. การดำเนินงานด้านสังคม

•  จัดให้มีการให้ความรู้เรื่องยาเสพติดตลอดจนการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติดเพื่อให้ประชาชน
ภายในตำบลรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติดและห่างไกลจากยาเสพติด

3. การดำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน

•  ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กในหมู่บ้าน
•  ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างตามถนน
•  จัดให้มีระบบประปาหมู่บ้านและสาธารณูปโภคอื่นๆ

4. การดำเนินงานด้านแหล่งน้ำ

•  จัดให้มีบ่อน้ำตื้น และสระน้ำภายในตำบลจนคลองส่งน้ำชลประทาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำการเกษตร รวมทั้งนำน้ำมาใช้เพื่ออุปโภคบริโภคภายในครัวเรือน

5. การดำเนินงานด้านสาธารณะสุข

•  จัดสร้างเตาเผาขยะ บ่อขยะแบบฝังกลบ
•  จัดพ่นยากำจัดยุงลาย และแมลงวัน โดยร่วมมือกับอนามัยตำบล
•  ฝึกอบรมเรื่องโรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง การป้องกันและให้ความรู้เรื่องสารเสพติดให้โทษ รวมทั้งโรคติดต่ออื่นๆ

6. การดำเนินงานด้านการเมือง การบริหาร

•  จัดให้มีบอร์ดประชาสัมพันธ์ และปิดประกาศเกี่ยวกับข่าวสารทางด้านการเมืองการ ปกครอง ระเบียบข้อบังคับขององค์การบริหารส่วนตำบล ตลอดจนข่าวสารทางราชการที่ต้องประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ

7. การดำเนินงานด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

•  จัดให้มีการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมตามเทศการวันสำคัญต่างๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา งานบุญบั้งไฟ งานแข่งเรือ เป็นต้น

8. การดำเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

•  จัดให้มีส่วนสาธารณะรอบหนองน้ำสาธารณะหนองขาม เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ

 

7.2 แผนพัฒนาสามปี ( พ.ศ. 2549 - 2551 )

ที่
ชื่อแผนงาน
จำนวนโครงการ
ร้อยละ
1.
แผนงานการรักษาความสงบภายใน
1
1.70
2.
แผนงานด้านบริหารชุมนและสังคม
3
5.08
3.
แผนงานสังคมสงเคราะห์
8
13.56
4.
แผนงานสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
4
6.78
5.
แผนงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
8
13.56
6.
แผนงานการเกษตร
6
10.16
7.
แผนงานพัฒนาแหล่งน้ำ
4
6.78
8.
แผนงานการพาณิชย์
2
3.39
9.
แผนงานส่งเสริมกลุ่มอาชีพ
4
6.78
10.
แผนงานด้านสิ่งแวดล้อม
4
6.78
11.
แผนงานด้านสังคม
1
1.70
12.
แผนงานโครงสร้างพื้นฐาน
13
22.03
13.
แผนงานบริหารงานทั่วไป
1
1.70
 
รวม
59
100%

7.3 โครงการกิจกรรมที่ดำเนินการในปีปัจจุบัน

ที่
ชื่อแผนงาน/โครงการ
งบประมาณ(บาท)
ประเภทโครงการ

1.

แผนงาน การรักษาความสงบภายใน

18,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

2.

แผนงาน การศึกษา

382,580

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

3.

แผนงาน บริหารทั่วไป

4,036,744

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

4.

แผนงาน สาธารณสุข

120,500

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

5.

แผนงาน สังคมสงเคราะห์

29,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

6.

แผนงาน เคหะและชุมชน

654,584

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

7.

แผนงาน สร้างความเข้มแข็งและชุมชน

515,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

8.

แผนงาน ศาสนา วัฒนธรรมและนันทนาการ

440,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

9.

แผนงานการเกษตร

181,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

10.

แผนงาน การพาณิชย์

316,000

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

11.

แผนงานงบกลาง

699,750

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ

 

รวม

7,393,208

* ตามข้อบัญญัติงบประมาณ